สล็อต
บาคาร่า
mpkwin
บาคาร่า
บาคาร่า
ผลบอลสด
เว็บตรงออนไลน์
รับติดตั้งตาข่ายกันนก รับติดป้ายแบนเนอร์, ป้ายโฆษณาราคาถูก บ้านน็อคดาวน์, ขายบ้านน็อคดาวน์, รับออกแบบบ้านน็อคดาวน์, บ้านสำเร็จรูป รับติดป้ายโฆษณา รับติดป้ายโฆษณา ตอกเสาเข็ม, ขายเสาเข็ม, ขายแผ่นพื้น, ปั้นจั่น, รับผลิตเสาเข็ม

รับติดป้ายโฆษณา รับติดป้ายโฆษณา ไนโตรเจนเหลว รับติดป้ายแบนเนอร์, ป้ายโฆษณาราคาถูก รับรีโนเวท รับติดป้ายแบนเนอร์, ป้ายโฆษณาราคาถูก
ดาฟาเบท
Sbobet888 ทางเข้า Sbobet
บาคาร่า
บาคาร่า
คาสิโนออนไลน์
mpk
nexobet
usun
สล็อตเว็บตรง
mpkwin24h
สล็อตออนไลน์
เว็บตรงสล็อต อันดับ1
บาคาร่าเว็บครง
บาคาร่า888
9slot
บาคาร่า888
kamagra

ผู้เขียน หัวข้อ: Decrypto: ปั่นราคาเหรียญ  (อ่าน 51 ครั้ง)

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 2943
    • ดูรายละเอียด
Decrypto: ปั่นราคาเหรียญ
« เมื่อ: ธันวาคม 14, 2021, 02:49:47 PM »

ปลายเดือนพฤศจิกายน 2564 ที่ผ่านมานับเป็นช่วงเวลาทองของโทเคนดิจิทัลสัญชาติไทย เช่น KUB, JFIN หรือ SIX ที่ราคาพุ่งขึ้นหลายสิบเท่าในช่วงเวลาไม่กี่วัน และตกลงอย่างรุนแรงมากกว่าครึ่งหนึ่งของราคาสูงสุดภายในวันเดียว จึงเกิดข้อครหาและข้อสงสัยจากนักลงทุนทั้งหน้าใหม่หน้าเก่ามากมายว่าเหตุการณ์ดังกล่าวจะเป็นกลยุทธ์ของการปั่นราคา (Pump and Dump) ซึ่งเป็นการกระทำอันไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับการซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัลหรือไม่

หน่วยงานที่มีหน้าที่กำกับดูแลเหตุการณ์ในลักษณะดังกล่าวตามกฎหมายคือ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) จะต้องพิจารณาและตรวจสอบว่ามีการกระทำอันไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับการซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัลจนก่อให้เกิดความเสียหายต่อนักลงทุนหรือไม่ จึงน่าตั้งคำถามว่ากฎหมายและแนวทางในการตรวจสอบการกระทำความผิดในปัจจุบัน สามารถป้องกันการกระทำที่ไม่เป็นธรรม หรือเอาผิดผู้ที่ถือว่าเป็นการกระทำอันไม่เป็นธรรม เกี่ยวกับการซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัล หรือการปั่นราคาสินทรัพย์ดิจิทัลในตลาดได้หรือไม่? เพียงใด?

โดยกฎหมายกำหนดลักษณะของการกระทำอันไม่เป็นธรรมในการซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัลไว้หลายรูปแบบ เช่น การห้ามบุคคลใดเผยแพร่ข้อความอันเป็นเท็จ หรือข้อความอันอาจจะก่อให้เกิดความสำคัญผิด ห้ามวิเคราะห์หรือคาดการณ์ ไม่ว่าโดยข้อมูลเท็จหรือไม่ครบถ้วน จนทำให้เกิดความสำคัญผิด ห้ามบุคคลใดซึ่งรู้ข้อมูลภายในทำการซื้อ-ขาย หรือเปิดเผยเพื่อประโยชน์ต่อตนเองหรือบุคคลอื่น หรือส่งคำสั่งซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัลจนทำให้บุคคลทั่วไปเข้าใจผิดเกี่ยวกับปริมาณหรือราคาซื้อขาย แม้กระทั่งการส่งคำสั่งหรือยกเลิกคำสั่งซื้อขาย (ยังไม่ได้ซื้อขายจริง) ที่น่าจะทำให้ราคาหรือปริมาณการซื้อขายผิดไปจากสภาพปกติของตลาด และเป็นเหตุให้ระบบซื้อขายล่าช้าหรือหยุดชะงัก ซึ่งการกระทำดังกล่าวมีบทลงโทษตามกฎหมาย

ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาจากแนวทางการกำกับของกฎหมายดังกล่าวจะเห็นได้ว่ามีฐานแนวคิดมาจาก พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 หมวด 8 ที่วางหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการป้องกันการกระทำอันไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย์ ซึ่งมีข้อน่าพิจารณาว่ารูปแบบและวิธีการกำกับดังกล่าวจะสามารถนำมาปรับใช้กับการซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัลได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ ด้วยเหตุที่ลักษณะของเทคโนโลยีและรูปแบบการซื้อขายแตกต่างกันอย่างมาก

รวมถึงตลาดรองที่การซื้อขายหลักทรัพย์ในรูปแบบเดิมจะมีตลาดรองเพียงตลาดเดียว คือ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย แต่การซื้อขายสินทรัพย์ดิจิทัลในปัจจุบันนั้น อาจถูกซื้อขายในตลาดรองในประเทศไทยที่มีหลายตลาด รวมถึงอาจถูกซื้อขายข้ามไปยังตลาดต่างประเทศอีกด้วย การใช้แนวคิดและโดยเฉพาะอย่างยิ่งแนวทางการตรวจสอบการกระทำอันไม่เป็นธรรมรูปแบบเดิมที่มีการตรวจสอบแบบรวมศูนย์จึงอาจไม่เพียงพอต่อการปกป้องความเสียหายของนักลงทุนที่ลงทุนในสินทรัพย์ดิจิทัลอีกต่อไป

นายปรุงศักดิ์ เชาวน์ชาติ

ทนายความหุ้นส่วน กลุ่มสำนักงานกฎหมายอเบอร์ (ABER Group)

อนุญาโตตุลาการผู้เชี่ยวชาญด้านสินทรัพย์ดิจิทัล สถาบันอนุญาโตตุลาการ (Thailand Arbitration Center: THAC)